ทัศนคติของนักศึกษาพยาบาลต่อการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ที่ต้องรับการช่วยเหลือจากบุคคลที่สาม
ผู้เขียน :
วรรณี เดียวอิศเรศ , คิชิดะ ยาซุโกะ , ภรภัทร์ เฮงอุดมทรัพย์ , ดาริน บัวหาญ
เผยแพร่วันที่ :
1 เม.ย. 2566
ประเภท :
บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ
วารสารวิชาการ :
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ
เล่มที่ :
41
ฉบับที่ :
2
หน้า :
e262893
ผู้เผยแพร่ :
สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
รายละเอียด :
การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาการรับรูของนักศึกษาพยาบาลเกี่ยวกับการศึกษาและทัศนคติตอ การใชเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุ และเปรียบเทียบทัศนคติของนักศึกษาที่มีปจจัยสวนบุคคลตางกัน กลุมตัวอยางคือ นักศึกษา พยาบาลชั้นปที่ 3 และ ชั้นปที่ 4 จากสถาบันการศึกษาพยาบาลสังกัดรัฐบาลและเอกชน 4 แหง รวมจํานวน 816 คน ซึ่งไดจาก การสุมตัวอยางอยางงาย เก็บรวมรวมขอมูลโดยใหกลุมตัวอยางตอบแบบสอบถามดวยตัวเอง ประกอบดวย แบบสอบถามเกี่ยวกับ ขอมูล สวนบุคคล การศึกษาเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุ ความคิดเห็นตอเนื้อหาหลักสูตร และทัศนคติตอการใช เทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุ แบบสอบถามมีคาสัมประสิทธิ์แอลฟาระหวาง .74 - .87 วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติพรรณนา การทดสอบคาทีและการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัย พบวา นักศึกษาสวนใหญ (รอยละ 63.1) รับรูวาเคยศึกษาเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุ มากกวา 2 ใน 3 ของนักศึกษา เห็นวาเนื้อหาการรักษาภาวะการมีบุตรยากและการพยาบาลเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุ และจริยธรรมมีความจําเปนมากขึ้น นักศึกษามีทัศนคติทางบวกเกี่ยวกับสิทธิการมีบุตรวาเปนสิทธิ์ของผูหญิงและของผูชาย แตมีทัศนคติทางลบกับการรักษาผูหญิง/ผูชายที่มีภาวะมีบุตรยากที่ตองรับการชวยเหลือจากบุคคลที่สาม เชน ผูบริจาคอสุจิหรือไข นักศึกษาชั้นปที่ 4 มีคะแนนทัศนคติโดยรวมมากกวานักศึกษาชั้นปที่ 3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และไมพบ ความแตกตางของทัศนคติระหวางนักศึกษาที่มีประวัติการมีบุตรยากในครอบครัวและประวัติการใชเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุ ในครอบครัวรวมทั้งการจะใชเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุในอนาคต (p > .05)
ลิงค์ :